วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ต่อมไทรอยด์

ต่อมไทรอยด์

วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ต่อมใต้สมอง

ต่อมใต้สมอง

วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

กลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน

เอนิเมชั่นแสดงกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
http://www.wisc-online.com/objects/index_tj.asp?objID=AP13704

วันเสาร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ฮอร์โมน

ประเภทของฮอร์โมน
  • โปรตีนและโพลิเพปไทด์
  • สเตียรอยด์
  • อนุพันธ์ของกรดอะมิโน
  • อนุพันธ์ของกรดไขมัน

ต่อมไร้ท่อชนิดต่างๆ

ต่อมไร้ท่อชนิดต่างๆ

  • ต่อมใต้สมอง
  • ต่อมไพเนียล
  • ต่อมไทรอยด์
  • ต่อมพาราไทรอยด์
  • ต่อมไทมัส
  • ต่อมไอส์เลตของตับอ่อน
  • ต่อมหมวกไตชั้นนอก
  • ต่อมหมวกไตชั้นใน
  • ต่อมเพศ

ต่อมในร่างกาย

ต่อม หมายถึง กลุ่มเซลล์หรือกลุ่มของเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างเพื่อผลิตสารเคมีให้กับร่างกาย

  • สารที่ผลิตออกมาอาจขับออกมาเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
  • สารบางอย่างถูกขับออกมาเพื่อเป็นของเสียที่ต้องกำจัดทิ้ง
ประเภทของต่อมในร่างกาย

  • ต่อมมีท่อ เป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วมีท่อลำเลียงออกมาภายนอกได้ เช่น ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำตา ต่อมน้ำลาย
  • ต่อมไร้ท่อ เป็นต่อมที่ผลิตสารออกมาแล้วไม่มีท่อลำเลียงออกมาภายนอก ต้องอาศัยการลำเลียงไปกับน้ำเลือด ในสัตว์ที่ไม่มีเลือดก็จะแพร่ผ่านไปตามเนื้อเยื่อ

สารที่สร้างขึ้น เรียกว่า ฮอร์โมน ซึ่งมีผลต่อเนื้อเยื่อ หรืออวัยวะเฉพาะอย่าง
เรียกอวัยวะที่ฮอร์โมนไปมีผล เรียกว่า อวัยวะเป้าหมาย



รูปแสดงต่อมน้ำลาย (salivary gland)



รูปแสดงต่อมน้ำตา (lacrimal gland)



รูปแสดงต่อมเหงื่อ (sweat gland)





วันศุกร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

ต่อมไร้ท่อ

ต่อมใดเป็นต่อมไร้ท่อจะสังเกตได้จากลักษณะต่อไปนี้

  • ไม่มีท่อลำเลียงสารที่ผลิตได้ออกภายนอกต่อม
  • มีเส้นเลือดจำนวนมากเพื่อทำหน้าที่ลำเลียงสารที่ต่อมผลิตได้ไปยังอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
  • เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของต่อมจะมีรูปร่างพิเศษ สังเกตได้ว่าแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
  • สารที่ผลิตได้จะมีลักษณะเฉพาะไม่สามารถถูกสร้างได้จากต่อมอื่น
  • สารที่ผลิตได้มีผลต่อเนื้อเยื่อและอวัยวะของตนเองในลักษณะจำเพาะ